วันอาทิตย์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

Don McLean - Vincent ( Starry, Starry Night)



 

The Starry Night  
Oil on canvas 73x92 cm. 
Saint-Remy : June,1889

ภาพเขียนสีน้ำมันที่มีชื่อเสียงที่สุดชิ้นหนึ่งของแวนโก๊ะ เก็บรักษาไว้ที่ The Museum of Modern Art, New York  ปัจจุบันควรมีมูลค่านับพันล้านบาทหากนำออกประมูล  โดยปกติแล้วผลงานของแวนโก๊ะมักเขียนขึ้นใน เหตุการณ์สถานที่จริง แต่ภาพนี้ถูกเขียนจากจินตนาการขณะพักรักษาตัวด้วยอาการป่วยทางประสาท แวนโก๊ะมักบรรยายถึงแนวคิดในผลงานทุกชิ้นไว้อย่างลึกซึ้งแต่กลับไม่มีการกล่าวถึงภาพนี้เอาไว้เลย ภาพจึงได้รับการวิเคราะห์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง 
บางทีตอนนี้เขาอาจอยู่ในที่แห่งใดแห่งหนึ่งเฝ้ามองโลกนี้ผ่านภาพเขียนของเขา และอาจไม่มีใคร
สามารถเข้าใจความหมายที่แท้จริงของภาพ The Starry Night ในใจเขาได้ตลอดกาล... 


VINCENT ( Starry, Starry Night )
Artist : Don McLean : Year of 1971

Starry, starry night , paint your pallet blue and gray.
Look out on a summer's day
With eyes that know the darkness in my soul.

Shadows on the hills sketch the trees and the daffodils.
Catch the breeze and the winter chills 
in colors on the snowy linen land.

Now I understand what you tried to say to me.
How you suffered for your sanity...   
and how you tried to set them free.
They would not listen they did not know how.
Perhaps they'll listen now.

Starry, starry night, flaming flowers that brightly blaze.
Swirling clouds in violet haze ... 
Reflect in Vincent's eyes of China blue.

Colors changing hue, morning fields of amber grain.
Weathered faces lined in pain 
Are soothed beneath the artist's loving hand.

Now I understand ... what you tried to say to me.
And how you suffered for your sanity... 
and how you tried to set them free.
They would not listen they did not know how.
Perhaps they'll listen now.

For they could not love you, but still your love was true.
And when no hope was left inside on that ... Starry, starry night
You took your life as lovers-often do.

But I could have told you, Vincent
This world was never meant for one as beautiful as you.

Starry, starry night ... 
portraits hung in empty halls.
Frameless heads on nameless walls 
with eyes that watch the world and can't forget.

Like the strangers that you've met, 
the ragged men in ragged clothes.
The silver thorn of bloody rose ... ***
lie crushed and broken on the virgin snow.

Now I think I know what you tried to say to me.
And how you suffered for your sanity... 
And how you tried to set them free.
They would not listen they're not listening still.

Perhaps they never will…

-----------------------------------------------------
คืนดวงดาวพร่างพราวฟ้า... แต่งแต้มจานสีเธอด้วยสีฟ้าสีเทา
เฝ้ามองทิวาวารแห่งคิมหันต์ฤดู 
ด้วยดวงตาที่หยั่งรู้ความหม่นมัวในใจฉัน

เงื้อมเงาทาบทาทิวเขา ขีดเขียนภาพร่างทิวไม้และหมู่ต้นแดฟโฟดีล
สัมผัสสายลมรวยริน และความเยือกเย็นแห่งฤดูกาลเหน็บหนาว
จากมวลสีสันแต่งแต้ม...บนพื้นลินินขาวราวหิมะ...

และแล้วฉันพลันเข้าใจ... สิ่งใดที่เธอพร่ำบอกฉัน
ยากเย็นเพียงไหนที่เธอสู้ฝ่าฟัน 
และเหนื่อยยากเพียงใด เพื่อปลดปล่อยเหล่าผู้คน
ไม่มีใครรับรู้ ไม่เคยมีใครรับฟัง 
อาจบางที...พวกเขาจะรับฟังบ้างแล้ว...

คืนดวงดาวพร่างพราวฟ้า... ดั่งดอกไม้เพลิงโชติช่วงสุกใส
หมู่เมฆหมุนคว้างกลางเงาหมอกม่วงหม่น... 
สะท้อนในดวงตาสีครามของวินเซนต์

สีสันแปรเปลี่ยนความเข้มจาง ท้องทุ่งยามอรุณดั่งโรยเม็ดอำพัน
ใบหน้าอันทุกข์ทน กร้านกรำทรมาน...
พลันได้รับการบรรเทา...ใต้มือเปี่ยมรักแห่งศิลปิน

บัดนี้ฉันจึงเข้าใจ... สิ่งใดที่เธอเพียรบอกฉัน
ยากเย็นเพียงไหนที่เธอสู้ฝ่าฟัน 
และเหนื่อยยากเพียงใด เพื่อการปลดปล่อยเหล่าผู้คน
ไม่มีใครรับรู้ ไม่เคยมีใครเข้าใจ 
บางทีตอนนี้...จะมีใครรับฟังบ้างแล้ว...

แม้ไม่อาจมีใครรักเธอ... แต่รักเธอยังคงเที่ยงแท้เพียงนั้น
และเมื่อยามสิ้นไร้ความหวัง....โอ้ คืนแห่งดาราพร่าพราย...
เธอได้พลีใจกาย เช่นเหล่าผู้มีรักได้เคยกระทำ...

แต่วินเซนต์เอ๋ย... ฉันอาจบอกเธอได้เพียงว่า… 
โลกนี้ไม่เคยคู่ควร... กับผู้งดงามเช่นเธอ...

คืนดวงดาวพร่างพราวฟ้า.... 
รูปเหมือนแขวนไว้ในห้องโถงเวิ้งว้างว่างเปล่า…
ใบหน้าในภาพไร้กรอบ... ติดผนังไว้โดยไร้นาม
กับดวงตาที่ยังเฝ้ามองสรรพสิ่งและไม่เคยลืมเลือน

เหมือนเหล่าคนจรพลัดถิ่นที่เธอเคยพบพาน... 
คนยากไร้ในอาภรณ์คร่ำคร่า...
ดั่งหนามสีเทาเงิน กุหลาบแดงสดใส...
ถูกขยี้แหลกลาญ กลางผืนหิมะขาวสะอาด

บัดนี้ฉันจึงคิดเข้าใจ...สิ่งใดที่เธอเพียรบอกฉัน
ยากเย็นเพียงไหนที่เธอสู้ฝ่าพัน 
เหน็ดเหนื่อยเพียงใด กับการปลดปล่อยเหล่าผู้คน
พวกเขาไม่เคยรับรู้... ยังไม่มีใครยอมรับฟัง...

อาจบางที...พวกเขาไม่มีวันเข้าใจ...

------------------------------------------------
*** Silver thorn, bloody rose

“หนามสีเงิน กุหลาบสีแดง” อาจหมายถึง ความรัก ความหลัง ความหวัง ความฝัน
------------------------------------------------

Credit


Henri Matisse - อ็องรี มาติส

Henri Matisse


Description de cette image, également commentée ci-après


Henri Matisse (Henri Émile Benoît Matisse), né le 31 décembre 1869 au Cateau-Cambrésis et mort le 3 novembre 1954 à Nice, est un artiste-peintredessinateur et sculpteur français.
Il fut le chef de file du fauvisme ; Pablo Picasso, son ami, le considérait comme son grand rival.

Biographie

Jeunesse

Henri Matisse est né le 31 décembre 1869 au Cateau-Cambrésis en France, fils d’un marchand de grains. Sa mère était peintre amateur. Après la guerre franco-allemande, en 1871, la famille déménage à Bohain-en-Vermandois où Matisse passe sa jeunesse. Il commence sa vie professionnelle comme clerc de maître Derieux à Saint-Quentin. À 20 ans, à la suite d'une crise d'appendicite, il est contraint de rester alité pendant de longues semaines. Léon Bouvier qui a épousé la sœur de son ami, voisin de son domicile, Léon Vassaux, peint à ses heures, et présente à Matisse ses premières œuvres, plus particulièrement un Chalet suisse, chromo reproduit dans les boîtes de peinture en vente à l'époque. Henri Matisse en peindra une copie, qu'il signera « Essitam ». Parce qu'il est séduit par la peinture, sa mère lui offre une boîte de peinture. Il découvre alors le plaisir de peindre.
Dès son rétablissement, tout en réintégrant l'étude, il s'inscrit au cours de dessin de l'école Quentin-de-La Tour destinée aux dessinateurs en textile de l'industrie locale.
Il peint son premier tableau Nature morte avec des livres en juin 1890.
Peu après, il se rend à Paris et s'inscrit à l'Ecole des Beaux-Arts, dans l'atelier de Gustave Moreau. L'enseignement du maître encourage ses élèves à penser leur peinture, à la rêver, au delà de la virtuosité technique. Matisse, comme ses condisciplesGeorges RouaultSimon BussyEugène Martel ou Henri Evenepoel, se trouve stimulé par cette conception de la peinture et entend développer la sienne selon son individualité.

Carrière

En 1896, Matisse expose pour la première fois au « Salon des Cent » et au Salon de la Société nationale des beaux-arts dont il devient membre associé sur proposition de Pierre Puvis de Chavannes. Cette fonction lui permet notamment d'exposer sans passer par un jury. Il passe l'été à Belle-Île-en-Mer et rencontre l'australien John Peter Russell qui l'introduit auprès d'Auguste Rodin et Camille Pissarro. Il commence à s'intéresser à la peinture impressionniste qu'il découvre en 1897 au musée du Luxembourg.
En 1894, naît sa fille Marguerite (d'un de ses modèles nommé Caroline Joblau). C'est à l'occasion de son voyage de noces que Matisse débarque en Corse le 8 février 1898 accompagné de son épouse Amélie Parayre, née en 1872 ; ils auront deux enfants, Jean en 1899 et Pierre en 1900. Au cours de son séjour à Ajaccio qui dure jusqu'en juillet, il habite dans une villa dont il a loué le dernier étage meublé à un certain de la Rocca. Henri Matisse peint à Ajaccio une cinquantaine de toiles dont « le mur rose » qui représente l'arrière de l'hospice Eugénie vu depuis la villa "de la Rocca". Il passe une semaine à Londres où, sur les conseils de Pissarro, il découvre la peinture de Joseph Mallord William Turner. En séjour à Toulouse, il expérimente la méthode de Turner. À partir de 1900, Matisse travaille à l'Académie de la Grande Chaumière sous la direction d'Antoine Bourdelle et fréquente également l'atelier d'Eugène Carrière. Il y fait la connaissance d'André Derain et de Jean PuyDerain qui lui présente Maurice de Vlaminck. Il expose au Salon des indépendants (1901) et participe à la première édition du Salon d'automne (1903). Il expose en 1904 chez Ambroise Vollard.
Au début de 1905, il présente une importante exposition particulière chez Bernheim-Jeune et participe au Salon des indépendants. L'été de 1905, il séjourne à Collioure en compagnie de Derain. Au Salon d'automne de 1905, l'accrochage des œuvres de Matisse, Albert MarquetVlaminck, Derain et Kees van Dongen provoque un scandale par les couleurs pures et violentes posées en aplat sur leurs toiles. À la vue de ces tableaux regroupés dans une même salle, le critique Louis Vauxcelles compare l'endroit à une « cage aux fauves ». L'appellation de « fauve » est aussitôt adoptée et revendiquée par les peintres eux-mêmes. Cette période marque également la reconnaissance de son travail, lui permettant enfin une relative aisance matérielle. Matisse devient le chef de file du fauvisme. La même année, il rencontre Edmond-Marie Poullain.
Il entreprend de nombreux voyages qui seront autant de sources d'inspiration : Algérie, Italie, Allemagne, Maroc, Russie, Espagne, États-Unis et Tahiti.
En 1908, Matisse ouvre une académie libre (au couvent des Oiseaux, puis à l'hôtel de Biron) où se pressent les étudiants étrangers. L'académie ferme en 1911.
Entre 1908 et 1912, ses œuvres sont exposées à Moscou, Berlin, Munich et Londres ; Matisse et Amélie reviendront à Ajaccio en décembre 1912. En 1913, Matisse est exposé à l’Armory Show de New York à côté d'œuvres de Marcel Duchamp et Francis Picabia, comme autant de représentants de l'art le plus moderne qui soit.


Henri Matisse dans l'atelier de la rue Désiré Niel à Nice. Il tient un fusain au bout d'un bambou pour esquisser l'œuvre
Dès le déclenchement de la Première Guerre mondiale, il quitte Collioure qu'il fréquentait régulièrement depuis 1905. Après avoir passé une partie de l'hiver 1916-1917 à Nice, Matisse décide de rester plus longuement sur la Côte d'Azur, qu'il considère comme un paradis, et dont il recherche la transcription dans ses toiles. Durant cette période, Matisse rencontre le peintre japonais Yoshio Aoyama, qui vivait aussi à Nice, dans le quartier de Cimiez, et qui devient son disciple. Selon Matisse, Aoyama était un maître de la couleur, créant le terme Aoyama blue. En 1919, il reçoit la commande d'Igor Stravinski et Serge Diaghilev pour dessiner les costumes et les décors du ballet Le Chant du rossignol présenté à Londres.
En 1925, Matisse est nommé chevalier de la Légion d'honneur.
À New York, on organise une rétrospective (1929). Pendant son séjour aux États-Unis, Albert Barnes, le collectionneur, lui commande une œuvre monumentale pour sa fondation à Philadelphie. À son retour à Nice, dans l'atelier de la rue Désiré Niel loué spécialement pour cette réalisation, Matisse s'attellera à la Danse dont il réalisera de 1930 à 1933, trois versions en raison d'erreurs de gabarit. La première version inachevée a été retrouvée après sa mort dans son appartement à Nice. Elle est exposée en présentation définitive avec la deuxième version, laDanse de Paris (1037 × 450 cm), dans la salle Matisse du musée d'art moderne de la ville de Paris. La dernière version dite la Danse de Mérion a été installée par Matisse lui-même, en mai 1933, à la fondation Barnes de Philadelphie. C'est au décours de ce travail que Matisse inventa les « gouaches découpées ».
Il travaille à l'illustration du roman de James JoyceUlysse, et aux décors et aux costumes de Rouge et noir pour les Ballets russes de Monte-Carlo (1934-1938).
En 1941, atteint d'un cancer, il est hospitalisé à la clinique du Parc de Lyon. Ses médecins lui donnent six mois à vivre. S'il ne peut plus voyager, il utilise alors les étoffes ramenées de ses voyages pour habiller ses modèles originaires du monde entier. Son infirmière, Monique Bourgeois accepte d'être son modèle. Matisse utilise la technique des gouaches découpées et commence la série Jazz.
Il s'installe à Vence et renoue une amitié épistolaire assidue avec le dessinateur et écrivain André Rouveyre, connu à l'atelier de Gustave Moreau.
En avril 1944, Marguerite Matisse, sa fille, ainsi qu’Amélie son épouse, sont arrêtées par la Gestapo, pour faits de résistance. Madame Amélie Matisse reste six mois en prison, tandis que Marguerite Matisse, fille du peintre, parvient à s'enfuir à Belfort du train de déportation qui l'emmenait dans un camp. Elle est recueillie dans un premier temps par la famille de Léon Delarbre, peintre résistant et déporté, connu pour avoir réussi à ramener avec lui des dessins réalisés dans les camps d'extermination (musée de la Résistance à Besançon). Marguerite Matisse est ensuite prise en charge par la Croix-Rouge qui la cache au sein de la famille Bruno de Giromagny, et libérée le 6 octobre 1945. Sous le coup d'une émotion intense, Henri Matisse dessine de nombreux portraits de sa fille dont le dernier de la série montre un visage enfin apaisé7.

Tombe de Matisse et de sa femme au cimetière de Cimiez, à Nice.
En 1945, une grande rétrospective est organisée au Salon d'automne. Il réalise les cartons de tapisserie Polynésie, le Ciel et Polynésie, la Mer (1946) et commence à travailler à partir de 1949 au décor de la chapelle du Rosaire de Vence.
En 1952 a lieu l'inauguration du musée Matisse du Cateau-Cambrésis, sa ville natale.
Il réalise la gouache découpée La Tristesse du roi, tableau « plus proche même de la peinture classique que Matisse ne l'a jamais été..., son dernier autoportrait..., le portrait d'un vieillard ».
Henri Matisse meurt le 3 novembre 1954 à Nice et est enterré dans cette ville, au cimetière de Cimiez.
Son fils, Pierre Matisse fut un important et influent marchand d'art installé au Fuller Building de New York.
En 1963, le musée Matisse de Nice ouvre ses portes à son tour.
Connu et reconnu de son vivant, la cote de Matisse n'a cessé depuis de monter ainsi que le montre en 2009 la valeur historique de 32 millions d'euros atteinte par Les Coucous, tapis bleu et rose, œuvre mise en vente dans le cadre de la vente Bergé/Yves Saint Laurent à Paris.

อ็องรี มาติส

อองรี เอมีล เบอนัว มาตีสส์ (ฝรั่งเศสHenri-Émile-Benoît Matisse) (31 ธันวาคม ค.ศ. 1869 – 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954) เป็นจิตรกร ประติมากรและช่างพิมพ์ ชาวฝรั่งเศส ถือกันว่าเขามีฐานะเป็นหัวหน้าและคนที่สำคัญที่สุดของกลุ่มโฟวิสม์ ผลงานการวาดรูปของเขาจะโดดเด่นในการที่ใช้สีสันตัดกันอย่างลื่นไหลลงตัว

ประวัติ

อองรี มาตีสส์ เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1869 ที่เมืองเลอกาโต-ก็องเบรซี (Le Cateau-Cambrésis) แคว้นนอร์-ปาดกาแล (Nord-Pas-de-Calais) ประเทศฝรั่งเศส เติบโตในโบแอ็งน็องแวร์ม็องดัว (Bohain-en-Vermandois) เป็นบุตรชายของพ่อค้ามีฐานะมั่งคั่งคนหนึ่งในฝรั่งเศส บิดาต้องการให้เขาเป็นนักกฎหมาย ซึ่งเป็นอาชีพที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นอาชีพที่ดีในสังคมฝรั่งเศสในสมัยนั้น ในตอนแรกมาตีสส์ทำตามความปรารถนาของครอบครัวโดยการเข้าศึกษาวิชากฎหมาย จากนั้นเขาได้กลายเป็นจิตรกรโดยบังเอิญ เมื่อเขาล้มป่วยลงในปี ค.ศ.1889 ขณะนั้นเขายังเป็นนักศึกษากฎหมายอยู่ เพื่อนคนหนึ่งได้แนะนำให้เขาหัดวาดรูปเพื่อเป็นการแก้เบื่อหน่าย จนกระทั่งเขาหายป่วยเขาจึงตัดสินใจเลิกเรียนวิชากฎหมายและเข้าศึกษาที่สถาบันศิลปะเอโกล เดส์โบซาร์ ในปี ค.ศ.1895 มาตีสส์ได้เป็นศิษย์ของกุสตาฟ โมโร อาจารย์ศิลปะคนสำคัญในสมัยนั้น ขณะที่ศึกษาอยู่ในสถาบันสอนศิลปะแห่งนั้นเขาได้พบกับยอร์จ รูโอลท์, อัลแบร์ มาร์เกต์ ฯลฯ ซึ่งต่อมาเป็นผู้ร่วมคิดค้นคนสำคัญของศิลปะกลุ่มโฟวิสม์

ผลงาน

ด้านจิตรกรรม

ในด้านงานจิตรกรรมมาตีสส์ได้ผลิตงานออกมาเรื่อยๆ งานของเขาถือเป็นผู้นำของการเคลื่อนไหวทางศิลปะในลักษณะ Fauvist เขามีนิทรรศการครั้งแรกในปี ค.ศ. 1901 และมีนิทรรศการเดี่ยวในปีค.ศ. 1904 การใช้สีสันสดใสชัดเจนของเขาโดดเด่นจนเป็นที่สังเกตเห็นได้ชัด การเสื่อมลงของการเคลื่อนไหวทางศิลปะในลักษณะ Fauvist ในปีค.ศ. 1906 มิได้มีผลกับชื่อเสียงของมาติสส์ งานของเขาก้าวหน้าไปไกลกว่าและผลงานชั้นดีที่เกิดขึ้นระหว่าง ค.ศ. 1901 ถึง ค.ศ. 1912

ด้านประติมากรรม

ในวงการประติมากรด้วยกัน แม้ว่าจะไม่ค่อยมีคนนิยมชมชอบในประติมากรรมของมาตีสส์ แต่ในหมู่นักวิจารณ์และนักประวัติศาสตร์ศิลปะสมัยใหม่ต่างก็เห็นว่า งานของเขามีความสำคัญไม่น้อยไปกว่างานจิตรกรรมของเขาในด้านของการบุกเบิกรูปแบบ และแนวคิดใหม่ ในงานประติมากรรมของเขาก็ใช้หลักเดียวกันกับจิตรกรรมคือการทำขึ้นมาเพื่อนคัดค้านโต้ตอบวิธีการที่ทำแค่ตาเห็นของอิมเพลสชันนิสต์

ชีวิตบั้นปลาย

ในปี พ.ศ. 2484 เขาป่วยเป็นโรคมะเร็งและเข้ารับการผ่าตัด จนต้องนั่งรถเข็น มาติสไม่ย่อท้อปล่อยให้การนั่งรถเข็นเป็นอุปสรรคต่อการทำงาน ด้วยความช่วยเหลือจากผู้อื่นเขาเริ่มสร้างงานศิลปะแบบตัดปะกระดาษที่เรียกว่า "gouaches découpés" การทดลองนี้ทำให้เขาได้ทำงานศิลปะในสื่อชนิดใหม่อันเรียบง่ายแต่สนุกสนานรื่นเริงด้วยสีสันและรูปทรงเรขาคณิต
มาตีสส์ ประสบความสำเร็จในชั่วชีวิตเขาในฐานะจิตรกร ประติมากร และช่างพิมพ์ ปัจจุบันภาพเขียนของมาตีสส์ มีค่าสูงถึง 17 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี ค.ศ. 2002 ประติมากรรม Reclining Nude I (Dawn) ของเขาขายได้ 9.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับเป็นสถิติที่สูงสำหรับ ประติมากรรมของศิลปินคนหนึ่ง
มาตีสส์เสียชีวิตด้วยโรคหัวใจล้มเหลว ในวัย 85 ปี ที่เมืองนีซ ประเทศเทศฝรั่งเศส

ตัวอย่างผลงานของ อ็องรี มาติส


                                                                   Bathers by a River
หนึ่งในผลงานที่สำคัญที่สุดในชีวิต


The Morrocans

Portrait of Yvonne Landsberg











Claude Monet - โกลด มอแน

Claude Monet

Claude Monet 1899 Nadar.jpg

Claude Monet (né Oscar-Claude Monet le 14 novembre 1840 à Paris et mort le 5 décembre 1926 (à 86 ans) à Giverny), est unpeintre français, l’un des fondateurs de l'impressionnisme, peintre de paysages et de portraits.
Né à Paris, il grandit au Havre et est particulièrement assidu au dessin. Il commence sa carrière d'artiste en réalisant des portraits à charge des notables de la ville. En 1859, il part à Paris tenter sa chance sur conseil d'Eugène Boudin et grâce à l'aide de sa Tante. Après des cours à l'académie Suisse puis chez Charles Gleyre et la rencontre de Johan Barthold Jongkind, le tout entrecoupé par le service militaire en Algérie, Monet se fait remarquer pour ses peintures de la baie d'Honfleur. En 1866, il connait le succès au Salon de la peinture grâce à La Femme en robe verte représentant Camille Doncieux qu'il épouse en 1870. Toute cette période est cependant marquée par une grande précarité. Il fuit ensuite la guerre de 1870 à Londres puis aux Pays-Bas. Dans la capitale anglaise, il fait la rencontre du marchand d'art Paul Durand-Ruel qui sera sa principale source de revenu pendant le reste de sa carrière. Revenu en France, la première exposition des futurs impressionnistes à lieu en 1874.
En 1876, il rencontre Ernest Hoschedé, un mécène qui va rapidement faire faillite. En 1878, ce dernier, sa famille et celle de Monet aménage dans une maison commune à Vétheuil. La mort de Camille en 1879 et les nombreuses absences d'Ernest, conduisent au rapprochement de Monet avec Alice Hoschedé. En plus de peindre intensivement la Seine, Claude se rend régulièrement sur la côte Normande pour peindre. En 1883, lui et la famille Hoschedé déménage définitivement à Giverny. Ce déménagement correspond environ à la fin des ennuis financiers, Monet devenant même fortuné à la fin de son existence. Monet ne se montre cependant pas particulièrement généreux avant ses toutes dernières années. Après l'emménagement, il effectue un séjour àBordighera, sur la côte d'azur puis à Belle-Île-en-Mer.
À partir de 1890, Monet se consacre à des séries de peintures, c'est-à-dire qu'il peint le même motif à différentes heures de la journée, à diverses saisons. Il peint alors parfois des dizaines de toiles en parallèle, changeant en fonction de l'effet présent. Il commence par les Meules, puis réalise Les Peupliers, la Série des Cathédrales de Rouen, celle des Parlements de Londres et Les Nymphéas de son jardin, qu'il décline en grande format pour peindre les grandes décorations. En effet, depuis 1903, Monet s'adonne intensivement au jardinage. En 1908, il peint également à Venise mais sans faire de série.
La fin de sa vie est marquée par le décès d'Alice et d'une cataracte qui affecte son travail. Il s'éteint à 86 ans d'une infection pulmonaire.
Monet peint devant le modèle sur l'intégralité de sa toile dès les premières ébauches, il retouche ensuite de nombreuses fois jusqu'à ce que le résultat le satisfasse. Contrairement à ce qu'il affirme, il termine la plupart de ses toiles en atelier, prenant modèle sur les premières peintures d'une série pour peindre les autres.
D'un caractère parfois difficile, prompt à la colère comme au découragement, Claude Monet est un grand travailleur qui n'hésite pas à défier la météo pour pratiquer sa passion. Monet résume sa vie ainsi de la meilleure manière : « Qu'y-a-t-il à dire de moi ? Que peut-il y avoir à dire, je vous le demande, d'un homme que rien au monde n'intéresse que sa peinture - et aussi son jardin et ses fleurs ».

Famille

  • Claude Monet épouse en 1870 en premières noces, Camille Doncieux (1847–1879), avec qui il a deux enfants :
Monet n’a donc eu aucune postérité directe.
  • Il épouse le 16 juillet 1892 en secondes noces Alice Hoschedé (1844–1911), qui a déjà six enfants de son premier mariage avec Ernest Hoschedé ; ces six enfants ne sont pas de Claude Monet (sauf peut-être le dernier, Jean-Pierre), mais celui-ci les élève :
    • Marthe Hoschedé (1864–1925), épouse en 1900 Theodore Earl Butler (1861–1936), sans postérité ;
    • Blanche Hoschedé (1865–1947), épouse en 1897 Jean Monet (1867–1914), sans postérité ;
    • Suzanne Hoschedé (1868–1899), épouse en 1892 Theodore Earl Butler (1861–1936), deux enfants ;
    • Jacques Hoschedé (1869–1941), épouse en 1896 une Norvégienne ;
    • Germaine Hoschedé (1873–1968), épouse en 1902 Albert Salerou, et postérité ;
    • Jean-Pierre Hoschedé (1877–1960), parfois dit fils naturel de Claude Monet, épouse en 1903 Geneviève Costaddau ; il a un fils, Maurice (1919–1977), et descendance, notamment l’animatrice de télévision Dorothée (1953).

โกลด มอแน

โกลด มอแน (ฝรั่งเศสClaude Monet) หรือ อ็อสการ์-โกลด มอแน (Oscar-Claude Monet14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1840 - 5 ธันวาคม ค.ศ. 1926) เป็นจิตรกรสมัยอิมเพรสชันนิสม์ และเป็นจิตรกรคนสำค้ญของประเทศฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึง 20 มีความสำคัญในการเป็นผู้ริเริ่มศิลปะอิมเพรสชันนิสม์และมีบทบาทสำคัญในปรัชญาและการปฏิบัติของขบวนการนี้ ซึ่งเป็นการวาดภาพจากความประทับใจในสิ่งที่เห็นของผู้วาด (perception) แทนที่จะพยายามทำให้เหมือนจริงตามธรรมชาติ โดยเฉพาะในจิตรกรรมภูมิทัศน์ (Landscape painting) คำว่า “Impressionism” มาจากชื่อภาพเขียนของมอแนเองชื่อ “Impression, Sunrise” (ความประทับใจของพระอาทิตย์ขึ้น)

ชีวิตเบื้องต้น




“บนฝั่งแม่น้ำเซน, เบเนคอรท์ (On the Bank of the Seine, Bennecourt)” (ค.ศ. 1868) ตัวอย่างแรกของการวาดภาพอิมเพรสชันนิสม์นอกสถานที่


“Impression, Sunrise” (ค.ศ. 1872-1873)
มอแนเกิดเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1840 บนชั้น 5 ของบ้านเลขที่ 45 ถนนเลออาฟวร์ตเขต 9 ในปารีส เป็นลูกชายคนที่สองของโกลด อาดอลฟ์ และลุย จุสตีน โอเบรผู้เป็นนักร้อง ทั้งสองคนเป็นชาวปารีสชั่วคนที่สอง มอแนรับศึลจุ่มเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคมปีต่อมาที่วัดนอเทรอดามเดอโลเร็ต ในชื่อ อ็อสการ์ โกลด เมื่อปี ค.ศ. 1845, ครอบครัวของมอแนย้ายไปเมืองเลออาฟวร์ (Le Havre) ในนอร์มังดีทางเหนือของฝรั่งเศส พ่อของมอแนอยากให้มอแนทำกิจการร้านขายของชำของครอบครัวแต่มอแนอยากเป็นศิลปิน
เมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1851 มอแนก็เข้าเรียนศิลปะที่โรงเรียนมัธยมศิลปะที่เลออาฟวร์ และเป็นที่รู้จักกันในฝีมือการเขียนรูปการ์ตูน (caricature) ด้วยถ่านที่มอแนขายในราคา 10 ถึง 20 ฟรังส์ นอกจากนั้นมอแนก็ยังเรียนการเขียนภาพเป็นครั้งแรกกับฌัก-ฟร็องซัว โอชารด์ (Jacques-François Ochard) ผู้เป็นลูกศิษย์ของฌัก-หลุยส์ ดาวิด (Jacques-Louis David) ระหว่างปี ค.ศ. 1856-1857 มอแนพบยูจีน บูแดง (Eugène Boudin) ผู้เป็นจิตรกรและผู้ที่มอแนถือว่าเป็นครูและเป็นผู้สอนให้มอแนวาดภาพด้วยด้วยสีน้ำมัน และสอนวิธีวาดภาพ “นอกสถานที่” (en plein air)
แม่ของมอแนเสียชีวิตเมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1857 เมื่อมอแนอายุได้ 16 มอแนก็ลาออกจากโรงเรียนไปอยู่กับน้ามารี จอง เลอคาเดร (Marie-Jeanne Lecadre) ผู้เป็นแม่ม่ายและไม่มีลูกของตนเอง



สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย อิมเพรสชันนิสม์ และอาร์ฌ็องเตย


“เรือประมงออกจากอ่าว” (เลออาฟวร์)
หลังจากเกิดสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1870 มอแนก็ลี้ภัยไปอยู่อังกฤษเมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1870 ขณะที่อยู่ที่นั่นมอแนก็ศึกษางานภาพภูมิทัศน์ของ จอห์น คอนสเตเบิล (John Constable) และ โจเซฟ มัลลอร์ด วิลเลียม เทอร์เนอร์ (Joseph Mallord William Turner) ซึ่งมามีอิทธิพลต่อการศึกษาเรื่องการใช้สี เมื่อฤดูใบไม้ผลิปี ค.ศ. 1871 ทางราชสถาบันศิลปะ (Royal Academy) ไม่ยอมแสดงผลงานของมอแน
เมื่อเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ. 1871 มอแนก็ย้ายจากลอนดอนไปซานดาม (Zaandam) ในประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นที่มอแนเขียนภาพ 25 ภาพ (เป็นที่ที่ตำรวจสงสัยว่ามอแนมีส่วนเกี่ยวข้องกับการปฏิวัติ) จากซานดามมอแนก็มีโอกาสไปอัมสเตอร์ดัมซึ่งอยู่ไม่ไกลนัก ประมาณเดือนตุลาคม หรือพฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1871 มอแนก็ย้ายกลับปารีส ระหว่างเดือนธันวาคม ค.ศ. 1871 ถึง ค.ศ. 1878 มอแนอาศัยอยู่ที่อาร์ฌ็องเตย (Argenteuil) ซึ่งเป็นหมู่บ้านริมฝั่งแม่น้ำเซนใกล้ปารีส และเป็นที่ที่มอแนวาดภาพที่กลายมาเป็นภาพที่มีชื่อเสียงที่สุดของมอแน และเป็นภาพที่เป็นที่รู้จักกันแพร่หลายหลายภาพ ในปี ค.ศ. 1874 มอแนกลับไปเนเธอร์แลนด์อยู่ระยะหนึ่ง
ประมาณปี ค.ศ. 1872 หรือ 1873 มอแนวาดภาพ “Impression, Sunrise” (Impression: soleil levant—ความประทับใจของพระอาทิตย์ขึ้น) ซึ่งเป็นภาพภูมิทัศน์ของเลออาฟวร์ ภาพนี้ตั้งแสดงที่งานนิทรรศการศิลปะอิมเพรสชันนิสม์ครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1874 ในปัจจุบันตั้งอยู่ที่พิพิธภัณฑ์มาโมแตง-มอแน ที่ปารีส หลุยส์ เลอรอยนักวิจารณ์ศิลปะเริ่มใช้คำ “อิมเพรสชันนิสม์” จากชื่อภาพในการบรรยายศิลปะลักษณะนี้อย่างเยาะๆ แต่จิตรกรอิมเพรสชันนิสม์นิยมคำและเริ่มใช้เรียกตัวเอง
มอแนและกามีย์ ดองโซแต่งงานกันเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1870 ไม่นานก่อนเกิดสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย พอปี ค.ศ. 1876 กามีย์ก็เริ่มป่วย หลังจากมีมิเชลลูกคนที่สองเมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1878 สุขภาพของกามีย์ก็เสื่อมลง ในที่สุดก็เสียชีวิตเมื่ออายุได้ 32 ปีด้วยวัณโรคเมื่อวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1879 มอแนวาดภาพกามีย์บนเตียงที่กามีย์นอนป่วย

ตัวอย่างภาพเขียนสมัยแรก


ไฟล์: Claude Monet 048.jpg
“ลุ่มแม่น้ำเซนกับอาร์ฌ็องเตย” (Seine Basin with Argenteuil) – ค.ศ. 1875, พิพิธภัณฑ์ดอร์เซ,ปารีสประเทศฝรั่งเศส
ไฟล์: Vetheuil Dans Le brouillard.jpg
“เวทุยในหมอก” (Vétheuil in the Fog) – ค.ศ. 1879, พิพิธภัณฑ์มาโมแตง-มอแน, ปารีส, ประเทศฝรั่งเศส

File:Claude Monet 022.jpg
“ผู้หญิงในสวน” (Woman in a Garden) – ค.ศ. 1867, พิพิธภัณฑ์เฮอร์มืทาจ, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก


ชีวิตสมัยหลัง

หลังจากมอแนโศกเศร้ากับการตายของกามีย์อยู่หลายเดือนมอแนก็สัญญากับตนเองว่าจะไม่ยอมเป็นทาสความยากไร้อีก โดยเริ่มเขียนภาพจริงๆ จังๆ และสร้างงานที่ดึที่สุดของตนเองของสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อต้นคริสต์ทศศตวรรษ 1880 มอแนก็วาดภาพภูมิทัศน์ของชนบทฝรั่งเศสด้วยความตั้งใจที่จะทำเป็นหลักฐานของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งทำให้เกิดการวาดภาพเป็นชุดหลายชุดที่เกี่ยวกับภูมิทัศน์ของชนบทฝรั่งเศส
ภาพชุดพอพพลา
เมื่อปีค.ศ. 1878 มอแนและกามีย์ย้ายไปอยู่ที่บ้านของเอิร์นเนส โอเชด (Ernest Hoschedé) เป็นการชั่วคราว โอเชดเป็นเจ้าของร้านสรรพสินค้าผู้มีฐานะและเป็นผู้อุปถัมป์ศิลปิน สองครอบครัวนี้ก็อยู่ด้วยกันที่เวทุย (Vétheuil) ระหว่างหน้าร้อน หลังจากที่เอิร์นเนสล้มละลายและย้ายไปประเทศเบลเยียมเมื่อปีค.ศ. 1878 และหลังจากที่กามีย์เสียชีวิตเมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1879 มอแนก็ยังคงอาศัยอยู่ที่เวทุย โดยมีอลิซ ภรรยาของเอิร์นเนส โอเชดก็ช่วยมอแนดูแลบุตรชายสองคน อลิซนำลูกของมอแนไปเลี้ยงร่วมกับลูกของอลิซเองอีก 6 คนที่ปารีสอยู่ระยะหนึ่ง[12] ก่อนที่จะย้ายกลับมาเวทุยพร้อมกับลูกๆ อีกครั้งเมื่อปีค.ศ. 1880  ในปีค.ศ. 1881 ทั้งสองครอบครัวก็ย้ายไปปอยซี (Poissy) ซึ่งเป็นที่ที่มอแนไม่ชอบ จากหน้าต่างรถไฟระหว่างแวร์นองและกาสนีมอแนก็พบจิแวร์นีย์ (Giverny) ในนอร์มังดี ในเดือนเมษายนปีค.ศ. 1883 มอแนก็ย้ายไปแวร์นองและต่อมาจิแวร์นีย์ ซึ่งเป็นที่ที่มอแนทำสวนขนาดใหญ่และเป็นที่ที่มอแนเขียนภาพตลอดในบั้นปลายของชีวิต หลังจากเอิร์นเนสเสียชีวิต อลิซก็แต่งงานกับมอแนเมื่อปีค.ศ. 1892
อลิซและลูกชายคนโตของมอแนผู้แต่งงานกับแบลนช์ ลูกสาวคนโตของอลิซเสียชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1911 หลังจากนั้นแบลนช์ก็ดูแลมอแน ระหว่างนี้มอแนก็เริ่มเป็นต้อ
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งลูกชายคนที่สองเป็นทหารและจอร์จ เคลมองโซ (Georges Clemenceau) ผู้เป็นเพื่อนและผู้นำฝรั่งเศส มอแนเขียนภาพชุด “วิลโลร้องไห้” (Weeping Willow) เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ชาวฝรั่งเศสผู้เสียชีวิตในสงคราม มอแนได้รับการผ่าตัดต้อสองครั้งในปี ค.ศ. 1923 ต้อของมอแนมีผลต่อสีของภาพเขียนๆ ระหว่างที่เป็นต้อจะออกโทนแดงซึ่งเป็นลักษณะของผู้เป็นต้อ นอกจากนั้นมอแนยังสามารถมองเห็นคลื่นแสงอัลตราไวโอเล็ทที่ตาปกติจะมองไม่เห็นซึ่งอาจจะทำให้มีผลต่อการเห็นสีของมอแน หลังจากผ่าตัดแล้วมอแนก็พยายามทาสีบางภาพใหม่ เช่นภาพชุดดอกบัวที่เป็นสีน้ำเงินกว่าเมื่อก่อนได้รับการผ่าตัด

ตัวอย่างภาพเขียนสมัยหลัง


File:Claude Monet 040.jpg
“พอพพลาบนฝั่งน้ำเอพ” (Pappeln on the Epte) – ค.ศ. 1900, พิพิธภัณฑ์แห่งชาติสกอตแลนด์

ไฟล์: Claude Monet 039.jpg
“วังที่เวนิส” (Palace From Mula, Venice) – ค.ศ. 1908, พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติ, วอชิงตัน ดี.ซี., สหรัฐอเมริกา

ไฟล์: Claude Monet 050.jpg
“ภาพนิ่งกับดอกแอนนิโมนี” (Still-Life with Anemones) – ค.ศ. 1885, ภาพสะสมส่วนบุคคล, ปารีส, ประเทศฝรั่งเศส

บั้นปลาย


มอแนเสียชีวิตจากโรคมะเร็งที่ปอดเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1926 เมื่ออายุ 86 ปี ร่างของมอแนถูกฝังไว้ที่วัดที่จิแวร์นีย์ มอแนขอให้เป็นพิธีง่ายๆ ฉะนั้นจึงมีผู้ร่วมงานศพเพียง 50 คน
เมื่อปี ค.ศ. 1966 ลูกหลานของมอแนก็ยกบ้าน สวนและบึงบัวให้กับสถาบันศิลปะแห่งฝรั่งเศส (Academy of Fine Arts) ปัจจุบันเปิดให้เข้าชมตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 นอกจากสิ่งของของมอแนแล้ว ภายในบ้านยังเป็นภาพพิมพ์แกะไม้ของญี่ปุ่น (Japanese woodcut prints) ที่มอแนสะสมด้วย



Crédit